หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2556

KTB_Q3 Review 30/12/56

งวดงบการเงิน งบปี 52 งบปี 53 งบปี 54 งบปี 55 ไตรมาส3/56
ณ วันที่ 31/12/2552 31/12/2553 31/12/2554 31/12/2555 30/9/2556
บัญชีทางการเงินที่สำคัญ          
สินทรัพย์รวม 1,543,830.14 1,762,476.37 1,964,998.99 2,253,761.79 2,414,722.87
หนี้สินรวม 1,431,302.97 1,636,688.92 1,835,174.39 2,073,498.19 2,216,436.34
ส่วนของผู้ถือหุ้น 112,527.17 125,787.45 129,824.60 180,263.09 198,286.02
มูลค่าหุ้นที่เรียกชำระแล้ว 57,604.03 57,604.03 57,604.03 72,005.04 72,005.04
รายได้รวม 71,767.83 78,752.77 99,907.50 121,010.26 97,950.12
กำไรสุทธิ 12,189.16 14,913.24 17,027.38 23,527.02 23,892.04
กำไรต่อหุ้น (บาท) 1.09 1.33 1.52 2 1.71
อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ          
ROA(%) 1.23 1.24 1.22 1.49 1.35
ROE(%) 11.28 12.52 13.32 15.17 14.5
อัตรากำไรสุทธิ(%) 16.98 18.94 17.04 19.44 24.39
ค่าสถิติสำคัญ          
ณ วันที่ 30/12/2552 30/12/2553 30/12/2554 28/12/2555 27/12/2556
ราคาล่าสุด(บาท) 9.85 17.3 14.9 19.6 16.5
มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 110,120.53 193,409.66 166,578.26 273,930.80 230,605.01
วันที่ของงบการเงินที่ใช้คำนวณค่าสถิติ 30/9/2552 30/9/2553 30/9/2554 30/9/2555 30/9/2556
P/E (เท่า) 9.33 13.67 8.46 11.68 9.32
P/BV (เท่า) 1.01 1.58 1.33 1.91 1.16
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น BV  (บาท) 9.76 10.95 11.23 12.81 14.18
อัตราส่วนเงินปันผลตอบแทน(%) 4.47 2.31 3.42 2.53 4.41
D/E ratio   13.01 14.14 11.50 11.18
รายได้รวม Growth%   9.73% 26.86% 21.12% 7.92%
กำไรสุทธิ Growth%   22.35% 14.18% 38.17% 35.40%
P/E Growth%   46.52% -38.11% 38.06% -20.21%
Price Growth%   75.63% -13.87% 31.54% -15.82%
Dupont analaysis          
TA/TE         12.18
NPM         24.39%
Asset turnover         0.04
ROE (Dupont)         16.07%
P/E Average 3 years         12.07
EPS Adjusted         1.77
Fair price         21.36
Upside%         29.48%

วันอาทิตย์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556

BLA_Q3 review 29/12/56

งวดงบการเงิน งบปี 52 งบปี 53 งบปี 54 งบปี 55 ไตรมาส3/56
ณ วันที่ 31/12/2552 31/12/2553 31/12/2554 31/12/2555 30/9/2556
บัญชีทางการเงินที่สำคัญ          
สินทรัพย์รวม 68,339.47 88,746.05 112,459.41 142,787.21 167,384.23
หนี้สินรวม 61,107.87 77,829.35 99,028.19 122,814.14 145,417.78
ส่วนของผู้ถือหุ้น 7,231.59 10,916.70 13,431.22 19,973.07 21,966.45
มูลค่าหุ้นที่เรียกชำระแล้ว 1,200.00 1,200.00 1,200.00 1,204.77 1,211.60
รายได้รวม 22,654.44 29,920.04 35,764.42 39,831.46 35,733.39
กำไรสุทธิ 1,185.69 2,796.48 3,417.10 3,284.37 3,475.70
กำไรต่อหุ้น (บาท) 1.12 2.33 2.85 2.73 2.87
อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ          
ROA(%) 2.31 4.57 4.81 3.73 3.42
ROE(%) 16.4 30.82 28.07 19.66 21.04
อัตรากำไรสุทธิ(%) 5.23 9.35 9.55 8.25 9.73
ค่าสถิติสำคัญ          
ณ วันที่ 30/12/2552 30/12/2553 30/12/2554 28/12/2555 27/12/2556
ราคาล่าสุด(บาท) 17.3 30.75 46.25 62.25 68
มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 20,760.00 36,900.00 55,500.00 74,997.05 82,396.58
วันที่ของงบการเงินที่ใช้คำนวณค่าสถิติ 30/9/2552 30/9/2553 30/9/2554 30/9/2555 30/9/2556
P/E (เท่า) 19.24 21.97 11.96 28.4 19.64
P/BV (เท่า) 2.94 3.94 4.3 4.19 3.75
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น BV  (บาท) 5.89 7.81 10.76 14.92 18.13
อัตราส่วนเงินปันผลตอบแทน(%) N.A.   0.98 1.3 1.15 1.05
D/E ratio   7.13 7.37 6.15 6.62
รายได้รวม Growth%   32.07% 19.53% 11.37% 19.62%
กำไรสุทธิ Growth%   135.85% 22.19% -3.88% 41.10%
P/E Growth%   14.19% -45.56% 137.46% -30.85%
Price Growth%   77.75% 50.41% 34.59% 9.24%
Dupont analaysis          
TA/TE         7.62
NPM         9.73%
Asset turnover         0.21
ROE (Dupont)         21.10%
P/E Average 3 years         20.00
EPS Adjusted         3.83
Fair price         76.53
Upside%         12.55%

วันเสาร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Macro weekly 16-20/12/56 กระทรวงการคลัง

รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่  16-20 ธ.ค.56

--------------------------------------------------------------------------------
Economic Indicators: This Week :
       นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทยในเดือน พ.ย. 56 มีจำนวนทั้งสิ้น 2.4 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 11.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล (m-o-m SA) โดยเป็นการขยายตัวในทุกกลุ่มภูมิภาค โดยหลักๆ มาจากนักท่องเที่ยวประเทศจีน มาเลเซีย รัสเซีย และเวียดนาม ที่ขยายตัวร้อยละ 20.6 10.5 12.5 และ 47.7 ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือน ม.ค.56 - พ.ย. 56 มีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้าประเทศไทย แล้วทั้งสิ้น 24.1 ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 21.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
       ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ในเดือนพ.ย. 56 ขยายตัวร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ต่อเนื่องจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 5.9 ตามการขยายตัวของผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ โดยเฉพาะสุกรและไก่เนื้อ เนื่องจากมีความต้องการที่มีเข้ามาอย่างต่อเนื่องและไม่มีสถานการณ์โรคระบาด ขณะที่ผลผลิตในหมวดพืชผลยังคงขยายตัวได้ในเกณฑ์ดี จากผลผลิตข้าวนาปี ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากอยู่ในช่วงต้นฤดูกาลเก็บเกี่ยว ประกอบกับสถาพภูมิอากาศเอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก สอดคล้องกับผลผลิตยางพารา ยังคงขยายตัวต่อเนื่องเช่นกัน ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากพื้นที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ดี ผลผลิตในหมวดประมงยังคงหดตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะกุ้ง เนื่องจากยังคงได้รับผลกระทบจากปัญหาโรคระบาด EMS ทั้งนี้ ในช่วง 11 เดือนแรกปี 56 ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน.......Download รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบ 

Macro daily 27/12/56 กระทรวงการคลัง

1. ยอดขายรถยนต์ในประเทศ เดือน พ.ย. 56 หดตัวร้อยละ -36.9 จากช่วงเดียวกันปี ก่อน
2. สภาแห่งรัฐจีนคาดเศรษฐกิจจีนปี 56 ขยายตัวร้อยละ 7.6
3. GDP ของเวียดนาม ไตรมาสที่ 4 ปี 56 ขยายตัวร้อยละ 6.0
http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=5575

Macro daily 26/12/56 กระทรวงการคลัง

1. กระทรวงพาณิชย์เผยส่งออกเดือน พ.ย. 56 หดตัวร้อยละ 4.08
2. ครม.มีมติขยายเวลาลดภาษีสรรพสามิตดีเซลอีก 1 เดือน หลัง กกต.เห็นชอบเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน
ประชาชน
3. ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ส่งสัญญาณบวก ยอดขายบ้านใหม่แข็งแกร่ง

Macro daily 23/12/56 กระทรวงการคลัง

1. โค้งสุดท้าย ‘ออเดอร์’ ส่อไม่ถึง 2 หมื่นล้านเหรียญ ส่งออกปี นี้จ่อติดลบร้อยละ 0.02
2. ธนาคารทหารไทยคาดเศรษฐกิจไทยปี 57 จะขยายตัวร้อยละ 3.3
3. สหรัฐฯ โชว์แกร่ง GDP ไตรมาส 3 ปรับใหม่โตเกินคาด
http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=5554

Macro daily 20/12/56 กระทรวงการคลัง

1. ดัชนีความเชื อมั นภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ย. 56 ของไทยอยู่ที 90.3 ลดลงจาก 92.8 ในเดือนก่อน
2. ตลาดหุ้นทั วโลกปรับเพิ มขานรับ มติการปรับลดมาตรการ QE ภายหลังการประชุม FOMC
3. ต้นทุนในการบูรณะฟื2นฟูความเสียหายจากพายุไห่เยี ยนของฟิ ลิปปิ นส์สูงถึง 8.2 พันล้านเหรีญสหรัฐ
http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=5547

วันพฤหัสบดีที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Macro daily 19/12/56 กระทรวงการคลัง

1. กนง. ระบุ ปัญหาการเมือง เป็ นปัจจัยหลักท าเงินทุนไหลออก
2. การส่งออกกุ้งของไทยปี นี้ลดลงร้อยละ -38.4
 3. FDI จีนในเดือน พ.ย. 56 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4

Macro daily 18/12/56 กระทรวงการคลัง

1. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คาดการณ์ GDP ปี 57 ขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อปี
2. บริษัทผลิตภัณฑ์ตราเพชร คาดว่าตลาดวัสดุก่อสร้างปี 57 ยังโตได้ถึงร้อยละ 3 ถึง 5
3. PMI ยูโรโซนเดือน ธ.ค. 56 ขยายตัวเพิ่มขึ้น
http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=5527

วันอังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ติดตามทิศทางเงินในตลาด Future... วันนี้ ฝรั่ง Long 891 สัญญา...

http://www.stock2morrow.com/showthread.php?t=54509

Fed’s $4 Trillion Assets Draw Lawmaker Ire Amid Bubble Concern

http://www.bloomberg.com/news/2013-12-17/fed-s-4-trillion-assets-draw-lawmaker-ire-amid-bubble-concern.html

Macro weekly 9-13/12/56 กระทรวงการคลัง

รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่ 9-13 ธ.ค.56 
Economic Indicators: This Week :
       ปริมาณการจำหน่ายรถจักรยานยนต์ในเดือนพ.ย. 56 มีจำนวน 147,149 คัน หรือหดตัวร้อยละ -16.7 จากช่วงเดียวกันของปี
ก่อน ต่อเนื่องจากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -11.1 โดยเป็นการหดตัวต่อเนื่องของยอดขายรถจักรยานยนต์ในภูมิภาคที่หดตัวร้อยละ -17.0
จากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -12.2 สอดคล้องกับยอดขายรถจักรยานยนต์ในกทม.ที่หดตัวร้อยละ -15.6 จากเดือนก่อนที่หดตัว
ร้อยละ -7.5 อย่างไรก็ดี คาดว่ายอดขายรถจักรยานยนต์ จะยังคงหดตัวต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากรายได้ภาคครัวเรือนที่ปรับตัว
ลดลง โดยเฉพาะรายได้เกษตรกรที่เริ่มหดตัวเกือบทั่วทุกภาคโดยเฉพาะในภาคใต้และภาคเหนือ ตามราคาสินค้าเกษตรสาคัญ
อาทิ ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ทั้งนี้ ในช่วง 11 เดือนแรกปี 56ปริมาณจำหน่ายรถจักรยานยนต์หดตัวร้อยละ -5.1 จากช่วงเดียวกันปี
ก่อน.......Download รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบ 

Macro daily 17/12/56 กระทรวงการคลัง

1. ราคาสินค้าเกษตรฟื้นตัวขึ้นปี 57
2. พาณิชย์เผยยอดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเดือน พ.ย. ลดฮวบร้อยละ 32
3. ญี่ปุ่ นต้องการเพิ่มจ านวนนักท่องเที่ยวจากเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=5518

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Macro weekly 19-23/8/56 กระทรวงการคลัง

รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่  19-23 ส.ค.56

--------------------------------------------------------------------------------
Economic Indicators: This Week :
       เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 2 ปี 56 ขยายตัวร้อยละ 2.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 5.4 และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลออกพบว่า หดตัวร้อยละ -0.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (QoQ_SA) ตามการชะลอลงของอุปสงค์ในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากมีการเร่งบริโภคไปแล้วในช่วงก่อนหน้าโดยเฉพาะการบริโภคสินค้าคงทน ประกอบกับเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักที่ฟื้นตัวไม่เต็มที่ ทำให้การบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.4 และร้อยละ 2.8 ตามลำดับสอดคล้องกับการผลิตภาคอุตสาหกรรมที่หดตัวร้อยละ -1.0 อย่างไรก็ดี การผลิตภาคบริการยังคงขยายตัวในเกณฑ์ดีจากสาขาโรงแรมและภัตตาคาร และภาคบริการดำเนินการเงินที่ขยายตัวร้อยละ 14.2 และร้อยละ 10.3 ตามลำดับ ทั้งนี้ในช่วง 6 เดือนแรกปี 56 เศรษฐกิจ ไทยขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
       รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักการจัีดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.ค. 56 ได้จำนวน 132.7 พันล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และมากกว่าประมาณการตามเอกสาร งปม. 1.3 พันล้านบาท หรือร้อยละ 1.0 โดยมีรายการสำคัญดังนี้ (1) ภาษีฐานรายได้จัดเก็บได้เ้พิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 จาก ช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้เ้พิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนอุปสงค์ภายในประเทศและรายได้ภาคครัวเรือนที่ยังขยายตัวได้ดี (2) ภาษีฐานบริโภค (ภาษีมูลค่าเพิ่ม) จัดเก็บได้่ลดลงร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยภาษีมูลค่าเพิ่มจากการบริโภค (ภ.พ. 30) จัดเก็บได้เ้พิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามรายได้ที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ภาษีจากการนำเข้าจัดเก็บได้ลดลงร้อยละ 7.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนำเข้าที่ชะลอลงสอดคล้องกับอากรขาเข้าที่จัดเก็บได้ลดลงร้อยละ 5.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และ (3) รายได้จากส่วนราชการอื่นจัดเก็บได้เ้พิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 จาก ช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้ รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในช่วง 10 เดือนแรกของปี งปม. 56 (ต.ค.55 – ก.ค. 56) ได้จำนวน 1,753.0 พันล้า้นบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าประมาณการตามเอกสารงปม. 56.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 5.2.......Download รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบ 

วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Macro weekly 24-2/8/56 กระทรวงการคลัง

รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่  24 ก.ค.- 2 ส.ค.56

--------------------------------------------------------------------------------
Economic Indicators: This Week :
       ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในเดือนมิ.ย. 56 สามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 166.4 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยในเดือนมิ.ย. 56 มีการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีปัจจุบัน 155.3 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 แบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจำ 135.4 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 (2) รายจ่ายลงทุน 19.8 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ -12.2 ทั้งนี้ การเบิกจ่ายงบประมาณที่สำคัญ ได้แก่ รายจ่ายชำระหนี้ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 21.3 พันล้านบาท รายจ่ายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ 5.7 พันล้านบาท รายจ่ายเงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 5.2 พันล้านบาท และรายจ่ายของกระทรวงกลาโหม 4.4 พันล้านบาท เป็นสำคัญ สำหรับการเบิกจ่ายงบประมาณจากปีก่อนเบิกจ่ายได้ 11.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ทั้งนี้ การเบิกจ่ายในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 56 สามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 1,853.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 โดยรายจ่ายงบประมาณประจำปีปัจจุบันเบิกจ่ายได้ 1,663.9 พันล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 69.3 ของวงเงินงบประมาณปี 56
       ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน มิ.ย. 56พบว่า ดุลงบประมาณเกินดุลจำนวน 171.3 พันล้านบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุลจำนวน 1.8 พันล้านบาท จึงส่งผลให้ดุลเงินสดก่อนกู้เกินดุลจำนวน 173.1 พันล้านบาท ทั้งนี้ ฐานะการคลังในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 56 งบประมาณขาดดุลจำนวน -238.0 พันล้านบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจำนวน -120.5พันล้านบาท จากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังจำนวน 102.1 พันล้านบาท และการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ จำนวน 6.1 พันล้านบาท ส่งผลให้รัฐบาลขาดดุลเงินสดก่อนกู้จำนวน -358.5 พันล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 56 อยู่ที่ 423.5 พันล้านบาท.......Download รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบ http://www.fpo.go.th/FPO/modules/Content/getfile.php?contentfileID=4785

วันเสาร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2556

BBL_Q2 review 3/8/56

งวดงบการเงินงบปี 52งบปี 53งบปี 54งบปี 55ไตรมาส2/56
ณ วันที่31/12/255231/12/255331/12/255431/12/255530/6/2556
บัญชีทางการเงินที่สำคัญ     
สินทรัพย์รวม1,771,931.621,949,687.772,106,912.462,418,838.252,437,922.22
หนี้สินรวม1,574,469.891,718,339.821,862,225.952,145,224.122,152,769.64
ส่วนของผู้ถือหุ้น196,776.13230,571.68243,814.66273,543.38285,086.30
มูลค่าหุ้นที่เรียกชำระแล้ว19,088.4319,088.4319,088.4319,088.4319,088.43
รายได้รวม87,182.6990,609.66110,280.68125,997.33 
กำไรสุทธิ20,764.0424,593.4227,337.6433,021.4619,325.00
กำไรต่อหุ้น (บาท)10.8812.8814.3217.310.09
อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ     
ROA(%)1.71.951.681.781.76
ROE(%)11.1711.5111.5312.7712.62
อัตรากำไรสุทธิ(%)23.8227.1424.7926.2127.29
ค่าสถิติสำคัญ30/12/255230/12/255330/12/255428/12/2555239815
ณ วันที่     
ราคาล่าสุด(บาท)116147153.5195.5203
มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด221,425.78280,599.91293,007.38373,178.79387,495.11
วันที่ของงบการเงินที่ใช้คำนวณค่าสถิติ30/9/255230/9/255330/9/255430/9/255531/3/2556
P/E (เท่า)11.0411.210.8812.1711.41
P/BV (เท่า)1.161.261.251.431.36
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น (บาท)99.69116.68122.38136.72149.35
อัตราส่วนเงินปันผลตอบแทน(%)2.592.723.263.073.20
D/E ratio 7.457.647.847.55
รายได้รวม Growth% 3.93%21.71%14.25%-100.00%
กำไรสุทธิ Growth% 18.44%11.16%20.79%17.05%
P/E Growth% 1.45%-2.86%11.86%-6.24%
Price Growth% 26.72%4.42%27.36%3.84%
Fair price231.80    
upside%14.19%